[ บทความ ARM7 ] เขียนโปรแกรมกับ ARM7 ตอนที่ 2

 

    
ชุดคำสั่งของอาร์มเซเว่น

 

โดย ศุภชัย บุศราทิจ
(i_raek@hotmail.com)
คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ
มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี
วันอังคารที่ ๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๙


        
 
            สำหรับการเขียนโปรแกรมด้วยอร์มเซเว่นนั้นผู้เขียนมุ่งเน้นใช้ภาษาซี ดังนั้น เพื่อเป็นการทำความเข้าใจกับอาร์มเซเว่นนั้นจะมีประโยชน์ต่อการเขียนภาษาซีเป็นอย่างมาก  ในบทความนี้เราจะมาเรียนรู้เกี่ยวกับชุดคำสั่งภาษาแอสเซมบลีในระดับพื้นๆกันก่อน ซึ่ง ชุดคำสั่งของอาร์มเซเว่นนั้นจะมีด้วยกัน 2 ชุดคือ ชุดคำสั่งของอาร์มที่มีขนาด 32 บิตและชุดคำสั่งธัมบ์ (THUMB) ที่มีขนาด 16 บิต


                อาร์มเซเว่นเป็นหน่วยประมวลผลที่ถูกออกแบบขึ้นเพื่อประมวลผลได้ทั้งแบบบิ๊กเอนเดียน (big-endian) และลิตเติลเอนเดียน (little-endian) ที่มีความแตกต่างในเรื่องของการจัดเรียงบิตข้อมูล ดังรูปที่ 1 จะเห็นว่าในแบบบิ๊กเอนเดียนนั้นจะมองว่าบิต 0 คือ MSB และบิต 7 เป็น LSB แต่กรณีที่เป็น     ลิตเติลเอนเดียนจะมีการจัดเรียงแตกต่างกันไป คือ บิต 0 เป็น LSB และบิต 7 เป็น MSB แต่เพื่อความสะดวกผู้ออกแบบหน่วยประมวลผลมักเลือกเพียงอย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อให้การทำงานของชิพมีประสิทธิภาพที่ดี ด้วยเหตุนี้ชิพตระกูล LPC2000 ของฟิลลิปจึงกำหนดเป็นการตายตัวเลยว่าใช้การเรียงบิตข้อมูลเป็นแบบลิตเติลเอนเดียนเท่านั้น ...

           อ่านต่อ .... (PDF : ขนาด 90.4 KB)


 

    ผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้อง

     1. ET-ARM7 Stamp LPC2138
     2. ET-ARM7 Starter Kit V1
     3. ET-ARM7 Starter Kit V1 EXP

     4.
ET-BASE ARM2103
     5. ET-BASE ARM7024
     6.
CP-JR ARM7 USB-LPC2148 EXP
     7.
CP-JR ARM7 LPC2138 EXP
     8.
CP-JR ARM7 USB-LPC2148
     9.
CP-JR ARM7 LPC2138
   10.
ET-JR ARM7 LPC2214


 

:: ผลิตภัณฑ์อื่นๆ ของเรา :: [หน้ารวม]
:: Training ::  Robotics  :: PSoC :: MCS-51 :: AVR :: 68HC :: BASIC Stamp :: PIC ::
::
Z8/Z80/Z180 :: CPLD ::
ARM :: MSP430 :: CPU/EPROM
:: PC Card/Flash :: Interface Card ::
::
USB/RS232/422/485 :: ET-Test/Project board ::
อุปกรณ์ต่อทดลอง/Connector ::
::
Counter/Clock :: Display/LCD :: Keyboard/Adapter/
หนังสือ ::
::
Barcode/Magnetic/Universal Programmer ::
ไอซีน่าสน ::

ปรับปรุงเมื่อวันที่ ๕ ตุลาคม ๒๕๔๙